หมวดที่ 3 การใช้ทรัพยากรและพลังงาน



        สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยรังสิต มีการใช้ทรัพยากรและพลังงานในรูปแบบต่าง ๆ ได้แก่ ไฟฟ้า น้ำ เชื้อเพลิง กระดาษ และอุปกรณ์สำนักงาน ซึ่งการใช้ทรัพยากรและพลังงานเหล่านี้มีการใช้อย่างสิ้นเปลือง และเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้เกิดก๊าซเรือนกระจก สำนักหอสมุดจึงมีการกำหนดมาตรการต่าง ๆ ในการควบคุมและสร้างความตระหนักในการใช้ทรัพยากรและพลังงาน เผยแพร่ให้กับบุคลากรรับทราบ รวมทั้งผู้ใช้บริการ

หมวด / ตัวชี้วัด หลักฐานประกอบ
๓.๑ การใช้น้ำ
๓.๑.๑ ร้อยละมาตรการใช้น้ำเหมาะสมกับสำนักงานจะต้องประกอบไปด้วย รายละเอียดดังนี้

          (๑) สร้างความตระหนักในการใช้น้ำ

          (๒) การกำหนดเวลาใช้น้ำ

          (๓) การกำหนดรูปแบบการใช้น้ำ

          (๔) การเปลี่ยนอุปกรณ์ประหยัดน้ำ

  ๑. มาตรการการใช้ทรัพยากรและพลังงาน สำนักหอสมุด ม.รังสิต ปี 2560

  ๒. สื่อรณรงค์ประชาสัมพันธ์การใช้ทรัพยากรและพลังงาน

  ๓. สื่อประชาสัมพันธ์มาตรการ การใช้น้ำ เพื่อสร้างความตระหนัก
๓.๑.๒ มีการจัดทำข้อมูลการใช้น้ำต่อหน่วยเปรียบเทียบกับเป้าหมาย การเก็บข้อมูล
กรณีบรรลุเป้าหมาย
          (๑) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำแต่ละเดือน

          (๒) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำต่อหน่วย

          (๓) บรรลุเป้าหมาย

          (๔) สรุปสาเหตุที่นำไปสู่การบรรลุ เพื่อการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
การเก็บข้อมูล กรณีไม่บรรลุเป้าหมาย

          (๑) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำแต่ละเดือน

          (๒) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำต่อหน่วย

          (๓) มีการวิเคราะห์สาเหตุและแนวทางแก้ไข

หมายเหตุ การเปรียบเทียบข้อมูลสามารถเลือกได้ตามความเหมาะสมของหน่วย
เช่น เปรียบเทียบต่อจำนวนพนักงาน หรือเปรียบเทียบต่อกิจกรรม หรือเปรียบเทียบ
ต่อพื้นที่ เป็นต้น
  ๔. บันทึกการใช้น้ำแต่ละเดือน (ปี 2559-2562)
  ๕. สรุปผลการใช้น้ำเปรียบเทียบปี 2559-2562
  ๖. ภาพถ่ายอุปกรณ์ก๊อกน้ำในห้องน้ำผู้ใช้
๓.๑.๓ ร้อยละของการปฏิบัติตามมาตรการประหยัดน้ำในพื้นที่ทำงาน
(ประเมินจากพฤติกรรมของบุคลากรในพื้นที่)
 
๓.๒ การใช้พลังงาน  
๓.๒.๑ ร้อยละมาตรการใช้ไฟฟ้าเหมาะสมกับสำนักงานจะต้องประกอบไปด้วย
รายละเอียดดังนี้

          (๑) การสร้างความตระหนักในการใช้ไฟฟ้า

          (๒) การกำหนดเวลาการใช้ไฟฟ้า

          (๓) การกำหนดรูปแบบการใช้ไฟฟ้า

          (๔) การเปลี่ยนอุปกรณ์ประหยัดไฟฟ้า

  ๗.ป้ายประชาสัมพันธ์รณรงค์การใช้ไฟฟ้าเพื่อสร้างความตระหนัก
๓.๒.๒ มีการจัดทำข้อมูลการใช้ไฟฟ้าต่อหน่วยเปรียบเทียบกับเป้าหมาย
การเก็บข้อมูล กรณีบรรลุเป้าหมาย
          (๑) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้ไฟฟ้าแต่ละเดือน

          (๒) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้ไฟฟ้าต่อหน่วย

          (๓) บรรลุเป้าหมาย

          (๔) สรุปสาเหตุที่นำไปสู่การบรรลุ เพื่อการปรับปรุงอย่างต่อเนื่องการเก็บข้อมูล
กรณีไม่บรรลุเป้าหมาย
          (๑) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้ไฟฟ้าแต่ละเดือน

          (๒) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้ไฟฟ้าต่อหน่วย

          (๓) มีการวิเคราะห์สาเหตุและแนวทางแก้ไข


หมายเหตุ การเปรียบเทียบข้อมูลสามารถเลือกได้ตามความเหมาะสมของหน่วย
เช่น เปรียบเทียบต่อจำนวนพนักงาน หรือเปรียบเทียบต่อกิจกรรม หรือเปรียบเทียบ
ต่อพื้นที่ เป็นต้น
  ๘.บันทึกการใช้ไฟฟ้าแต่ละเดือน (ปี 2559-2562)
  ๙. สรุปผลการใช้ไฟฟ้าเปรียบเทียบปี 2559-2562
  ๑๐. ภาพถ่ายการเปลี่ยนหลอดไฟฟ้าเป็นแบบ LED-ไฟกระตุก
 ๓.๒.๓ ร้อยละของการปฏิบัติตามมาตรการประหยัดไฟฟ้าในพื้นที่ทำงาน  
๓.๒.๔ การจัดการและรณรงค์เพื่อการประหยัดน้ำมันเชื้อเพลิง
ในการเดินทาง ดำเนินการดังนี้
          (๑) การสื่อสารผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์

          (๒) การวางแผนการเดินทาง

          (๓) การซ่อมบำรุงดูแลยานพาหนะ

          (๔) การใช้จักรยานหรือขนส่งสาธารณะมาทำงาน

  ๑๑. ระบบการจองรถผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์

  ๑๒. ข้อปฏิบัติการเดินทางไปประชุมภายนอกของบุคลากร

  ๑๓. ภาพถ่ายการใช้บริการรถร่วมสาธารณะ

๓.๒.๕ มีการจัดทำข้อมูลการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงต่อหน่วยเปรียบเทียบกับเป้าหมาย
การเก็บข้อมูล กรณีบรรลุเป้าหมาย
          (๑) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงเแต่ละเดือน

          (๒) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงต่อหน่วย

          (๓) บรรลุเป้าหมาย

          (๔) สรุปสาเหตุที่นำไปสู่การบรรลุ เพื่อการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
การเก็บข้อมูล กรณีไม่บรรลุเป้าหมาย

          (๑) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงแต่ละเดือน

          (๒) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงต่อหน่วย

          (๓) มีการวิเคราะห์สาเหตุและแนวทางแก้ไข

หมายเหตุ การเปรียบเทียบข้อมูลสามารถเลือกได้ตามความ
เหมาะสมของหน่วย เช่น เปรียบเทียบต่อจำนวน
พนักงาน หรือเปรียบเทียบต่อกิจกรรม หรือเปรียบเทียบ
ต่อพื้นที่ เป็นต้น
  ๑๔. บันทึกการใช้เชื้อเพลิงแต่ละเดือน(ปี 2559-2562)

  ๑๕. สรุปผลการใช้เชื้อเพลิงเปรียบเทียบปี 2559-2562

๓.๓ การใช้ทรัพยากรอื่นๆ  
๓.๓.๑ ร้อยละมาตรการใช้กระดาษเหมาะสมกับสำนักงานจะต้องประกอบ
ไปด้วย รายละเอียดดังนี้
          (๑) การสร้างความตระหนักในการใช้กระดาษ

          (๒) การกำหนดรูปแบบการใช้กระดาษ

          (๓) การใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์

          (๔) การนำกระดาษกลับมาใช้ใหม่

   ๑๖. คู่มือ 1 A3R

   ๑๗. การประชาสัมพันธ์รณรงค์ การใช้กระดาษ

   ๑๘. การใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์แทนกระดาษ

๓.๓.๒ มีการจัดทำข้อมูลการใช้กระดาษต่อหน่วยเปรียบเทียบ
กับเป้าหมาย การเก็บข้อมูล กรณีบรรลุเป้าหมาย
          (๑) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้กระดาษแต่ละเดือน

          (๒) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้กระดาษต่อหน่วย

(๓) บรรลุเป้าหมาย

(๔) สรุปสาเหตุที่นำไปสู่การบรรลุ เพื่อการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง

การเก็บข้อมูล กรณีไม่บรรลุเป้าหมาย

          (๑) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้กระดาษแต่ละเดือน

          (๒) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้กระดาษต่อหน่วย

          (๓) มีการวิเคราะห์สาเหตุและแนวทางแก้ไข

หมายเหตุ การเปรียบเทียบข้อมูลสามารถเลือกได้ตามความ
เหมาะสมของหน่วย เช่น เปรียบเทียบต่อจำนวนพนักงาน
หรือเปรียบเทียบต่อกิจกรรม หรือเปรียบเทียบต่อพื้นที่
เป็นต้น
  ๑๙. บันทึกการใช้กระดาษแต่ละเดือน (ปี 2559-2562)

  ๒๐. สรุปผลการใช้กระดาษเปรียบเทียบปี 2559-2562

๓.๓.๓ ร้อยละของการปฏิบัติตามมาตรการประหยัดกระดาษ
ในพื้นที่ทำงาน (ประเมินจากพฤติกรรมของบุคลากรในพื้นที่)
 
๓.๓.๔ ร้อยละมาตรการใช้ หมึกพิมพ์ อุปกรณ์เครื่องเขียน
วัสดุอุปกรณ์เหมาะสมกับสำนักงานจะต้องประกอบไป
ด้วย รายละเอียดดังนี้
          (๑) การสร้างความตระหนักในการใช้

          (๒) การกำหนดรูปแบบการใช้

          (๓) การใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์

  ๒๑. มาตรฐาน 7ส ปี 2561

  ๒๒. ภาพประกอบการกำหนดการใช้วัสดุ อุปกรณ์ตามหลัก 7 ส

  ๒๓. การใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ในการสื่อสาร

  ๒๔. การใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ในการเตรียมการประชุม

๓.๓.๕ ร้อยละของการดำเนินตามมาตรการประหยัดการใช้
หมึกพิมพ์ อุปกรณ์เครื่องเขียน วัสดุอุปกรณ์สำนักงาน
(ประเมินจากพฤติกรรมของบุคลากรในพื้นที่)
 
๓.๔ การประชุมและการจัดนิทรรศการ  
๓.๔.๑ ร้อยละของการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ในการส่งข้อมูลเพื่อ
เตรียมการประชุม ได้แก่ QR code, Email, Social Network,
Intranet เป็นต้น
  ๒๕. ข้อปฎิบัติการจัดประชุมและการจัดนิทรรศการ
๓.๔.๒ การจัดการประชุมและนิทรรศการที่มีการใช้วัสดุที่เป็น
มิตรกับสิ่งแวดล้อม ลดการใช้ทรัพยากร-พลังงาน และลด
ของเสียที่เกิดขึ้น จะต้องดำเนินการดังนี้
          (๑) การจัดเตรียมขนาดห้องประชุม เหมาะสมกับจำนวน
ผู้เข้าประชุม หรือจัดนิทรรศการ

          (๒) ห้องประชุมหรือพื้นที่จัดนิทรรศการไม่มีการตกแต่ง
ด้วยวัสดุที่ย่อยสลายยาก หรือวัสดุที่ใช้ครั้งเดียวแล้วทิ้ง

          (๓) การกำหนดแนวทางเลือกสถานที่ภายนอกสำนักงาน
ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

          (๔) การจัดเตรียมสื่อที่ใช้ในการประชุม โดยจะต้องลด
การใช้กระดาษ หมึกพิมพ์

          (๕) การจัดเตรียมอาหาร และเครื่องดื่มเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
  ๒๖. ภาพประกอบการจัดอาหารว่างในการประชุมและการจัดนิทรรศการ

  ๒๗. รายชื่อโรงแรมที่ได้รับการรับรองเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

  ๒๘. การจัดกิจกรรมด้านอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อมและผลสรุป